1. Scroll - ส่วนนี้อยู่บนสุดของไวโอลิน เป็นส่วนตกแต่ง โดยมากทำด้วยมือ
2. Pegbox - เป็นจุดทำใส่เป็คใช้สำหรับตั้งเสียงไวโอลิน
3. Nut - เป็นส่วนที่ช่วยให้สายห่างจากฟิงเกอร์บอร์ด และก็ทำหน้าที่รองรับสาย
4. Strings - มีทั้งหมด 4 เส้น โดยแต่ละเส้นห่างกัน คุ่ 5 เพอร์เฟค
5. Bridge - สะพาน หรือที่เราชอบเรียกกันว่า หย่อง เป็นส่วนสำคัญ ที่มีผลกับเสียงของไวโอลินโดยตรง หย่องยังทำหน้าที่รองรับแรงตีงสาย ดังนั้น เมื่อเราเล่น แล้ว สายเกิดการสั่น ตัวหย่องเองก็จะสั่นไปด้วย
6. Fingerboard - เป็นแผ่นไม้ โดยมากทำมาจาก ไม้อีโบนี่ ซึ่งแปะอยู่บนคอของไวโอลิน นักไวโอลินสามารถปรับเปลี่ยนระดับเสียง หรือ Pitch โดยการกดสายลงไปบนฟิงเกอร์บอร์ด
7. Sounding Post - อยู่ข้างใต้หย่อง ทำหน้าที่รองรับแรงกดที่เกิดขึ้นภายในตัวไวโอลิน ซึ่งช่างซ่อมไวโอลินสามารถปรับเสียงของไวโอลินโดยการขยับ ซาวน์โพสต์
8. F Holes - นั้นอยู่ที่ส่วนกลางของตัวไวโอลิน ที่เราเรียกว่า เอฟ-โฮล์ด เพราะมันมีรูปร่างเหมือนตัวอักษร F นั้นเอง เป็นจุดที่เสียงออกมา ส่วนขนาดของ F hole นั้นก็มีผลกับเสียงของไวโอลิน
9. Tailpiece - ทำหน้าที่ช่วยยึดสาย และรักษาระยะห่างระหว่าง หย่อง ส่วนมากทำด้วย ไม้อีโบนี่ แต่ก็สามารถเปลี่ยนเป็น Box wood หรือ pernumbuco ได้ ซึ่งจะทำให้เสียงมีพลังและความสดใสมากขึ้น
10. Chin Rest - เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้นักไวโอลินสามารถถือไวโอลินได้ถนัดในขณะเล่น น้ำหนักของตัว chinrest เองก็มีผลต่อเสียงอยู่บ้าง ซึ่งยิ่งเบาก็น่าจะดีกว่า
2. Pegbox - เป็นจุดทำใส่เป็คใช้สำหรับตั้งเสียงไวโอลิน
3. Nut - เป็นส่วนที่ช่วยให้สายห่างจากฟิงเกอร์บอร์ด และก็ทำหน้าที่รองรับสาย
4. Strings - มีทั้งหมด 4 เส้น โดยแต่ละเส้นห่างกัน คุ่ 5 เพอร์เฟค
5. Bridge - สะพาน หรือที่เราชอบเรียกกันว่า หย่อง เป็นส่วนสำคัญ ที่มีผลกับเสียงของไวโอลินโดยตรง หย่องยังทำหน้าที่รองรับแรงตีงสาย ดังนั้น เมื่อเราเล่น แล้ว สายเกิดการสั่น ตัวหย่องเองก็จะสั่นไปด้วย
6. Fingerboard - เป็นแผ่นไม้ โดยมากทำมาจาก ไม้อีโบนี่ ซึ่งแปะอยู่บนคอของไวโอลิน นักไวโอลินสามารถปรับเปลี่ยนระดับเสียง หรือ Pitch โดยการกดสายลงไปบนฟิงเกอร์บอร์ด
7. Sounding Post - อยู่ข้างใต้หย่อง ทำหน้าที่รองรับแรงกดที่เกิดขึ้นภายในตัวไวโอลิน ซึ่งช่างซ่อมไวโอลินสามารถปรับเสียงของไวโอลินโดยการขยับ ซาวน์โพสต์
8. F Holes - นั้นอยู่ที่ส่วนกลางของตัวไวโอลิน ที่เราเรียกว่า เอฟ-โฮล์ด เพราะมันมีรูปร่างเหมือนตัวอักษร F นั้นเอง เป็นจุดที่เสียงออกมา ส่วนขนาดของ F hole นั้นก็มีผลกับเสียงของไวโอลิน
9. Tailpiece - ทำหน้าที่ช่วยยึดสาย และรักษาระยะห่างระหว่าง หย่อง ส่วนมากทำด้วย ไม้อีโบนี่ แต่ก็สามารถเปลี่ยนเป็น Box wood หรือ pernumbuco ได้ ซึ่งจะทำให้เสียงมีพลังและความสดใสมากขึ้น
10. Chin Rest - เป็นส่วนสำคัญที่ช่วยให้นักไวโอลินสามารถถือไวโอลินได้ถนัดในขณะเล่น น้ำหนักของตัว chinrest เองก็มีผลต่อเสียงอยู่บ้าง ซึ่งยิ่งเบาก็น่าจะดีกว่า
รายละเอียดอื่นๆ ติดตามที่ www.thaivirtuoso.com